ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์
Asst.Prof.Dr.Nutthapat Kaewrattanapat

ติดต่อ

  • nutthapat.ke@ssru.ac.th  (email มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา)
  • nutthapat.k@ovec.moe.go.th (email กระทรวงศึกษาธิการ)
  • URL: https://ssrudlp.ssru.ac.th/teacher/Nutthapat_Kaew

ตำแหน่งปัจจุบัน

  • ตำแหน่งบริหาร           รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ 
    สถานที่ทำงาน             สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เลขที่ 1 อู่ทองนอก ดุสิต กรุงเทพฯ 10300
     
  • ตำแหน่งทางวิชาการ    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในกลุ่มสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ 
    สถานที่ทำงาน             สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เลขที่ 1 อู่ทองนอก ดุสิต กรุงเทพฯ 10300

คุณวุฒิวิชาชีพ

  • ผ่านการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ จาก สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ TPQI (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล สาขาธุรกิจดิจิทัลและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อาชีพนักจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับธุรกิจ ระดับ 6  เลขที่หนังสือรับรอง PQCN-ICT-ECM-0-251100-B-64/000029

การศึกษา

  • 2565     ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา 
  • 2551     ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
  • 2549     ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 

ประสบการณ์ทำงาน

  • 2568 - ปัจจุบัน คณะกรรมการสภาวิชาการ วิทยาลัยดุสิตธานี (คำสั่งที่ 006/2568)
  • 2567 - ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • 2563 - 2567 รองผู้อำนวยการฝ่ายนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์  สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์  มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • 2567 คณะทำงานศึกษาและวิเคราะห์ระบข้อมูลและการมีส่วนร่วมในการเสนอความเห็นของเกษตรกรตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • 2567 ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคัดเลือกผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการ โครงการประชุมทางวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา หรือ สคบศ. วิชาการ ครั้งที่ 5 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2566 คณะทำงานด้านสื่อเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของทุกภาคส่วน ตามคำสั่งคณะอนุกรรมการสภาการศึกษา ด้านเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อการปฏิรูปการศึกษาและยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ รองรับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2566 ผู้ทรงคุณวุฒิในโครงการวิจัยกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) เรื่อง การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานโดยใช้การวิจัยเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับบุคลากรของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2566 - ปัจจุบัน ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัยและบทความวิชาการ วารสารเวชบันทึกศิริราช วารสารวิชาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2565 – ปัจจุบัน วิทยากรประจำประเทศไทย ClassPoint (ClassPoint Certified Trainer: CCT), ClassPoint
  • 2565 คณะผู้พัฒนาและกลั่นกรองเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาด้านสมรรถนะดิจิทัล สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ: สทศ (องค์การมหาชน)
  • 2565 ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัยและบทความวิชาการ
  • 2564 ผู้ทรงคุณวุฒิของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) องค์การมหาชน โครงการนำร่องการส่งเสริมการนำผลประเมินไปใช้พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
  • 2563-2564 ผู้ทรงคุณวุฒิกองบรรณาธิการ วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
  • 2561 กองบรรณาธิการ การประเมินหลักสูตรเพื่อการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สถาบันคุรุสภา สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2561-2564 คณะผู้พัฒนาและกลั่นกรองเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษา (V-NET) รายวิชาคอมพิวเตอร์ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ: สทศ (องค์การมหาชน)
  • 2552 - 2563 อาจารย์ประจำหลักสูตร สารสนเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ แขนงวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • 2560 รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารและแผนงาน สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • 2556 - 2560 รองคณบดีฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 
  • 2556 - 2560 หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • 2549 - 2550 วิศวกรคอร์สแวร์ (e-Learning Courseware Engineer) บริษัท ดาต้า อีเลิร์นนิ่ง จำกัด 

ประกาศนียบัตรระบบคลังหน่วยกิต

  • 2567 สำเร็จรายวิชา  "การวิเคราะห์ข้อความ (Text Analytics)" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    ผลการเรียน A หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปรรูปธุรกิจดิจิทัล วิชาเอกวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science)
  • 2567 สำเร็จหลักสูตร  "ธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence: BI)" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    ผลการเรียน A หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปรรูปธุรกิจดิจิทัล วิชาเอกวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science)
  • 2567 สำเร็จหลักสูตร  "การสำรวจข้อมูล (Data Exploration)" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    ผลการเรียน A หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปรรูปธุรกิจดิจิทัล วิชาเอกวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science)
  • 2567 สำเร็จหลักสูตร  "ขั้นตอนวิธีสำหรับเหมืองข้อมูล (Data Mining Algorithms)" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลการเรียน A หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปรรูปธุรกิจดิจิทัล วิชาเอกวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science)
  • 2566 สำเร็จหลักสูตร  "ไพธอนสำหรับงานวิทยาศาสตร์ข้อมูลขั้นสูง (Advanced Python for Data Science)" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลการเรียน A หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปรรูปธุรกิจดิจิทัล วิชาเอกวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science)
  • 2566 สำเร็จหลักสูตร  "ไพธอนสำหรับงานวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Python for Data Science)" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลการเรียน A หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปรรูปธุรกิจดิจิทัล วิชาเอกวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science)
  • 2566 สำเร็จหลักสูตร "Computer Programming for Linguists การโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักภาษาศาสตร์" มหาวิทยาลัยมหิดล ผลการเรียนน่าพอใจ (S)

รายวิชาที่รับผิดชอบ

   


เอกสารประกอบการบรรยาย

เอกสารเผยแพร่

ติดตั้งและใช้ AI ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ด้วย Ollama , Docker และ Open WebUI
แนวทางการติดตั้งและใช้ AI ได้ฟรี และไม่ต้องเชื่อมต่อ Internet ในระหว่างการใช้งาน เช่น ใช้ในพื้นที่ที่ไม่มีสัญญาณ Internet หรือ ใช้บนเครื่องบิน
agentic ai: work reimagined
agentic ai: work reimagined พลิกโฉมการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์อัตโนมัติ เป็นการแนะนำให้รู้จักกับ Agentic AI และ AI Agent เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
ai co-genius: การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการพัฒนา เอกสารประกอบการสอนและการบรรยาย
แนวทางการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการพัฒนาเอกสารประกอบการสอนและการบรรยาย ✦ การใช้ประโยชน์จากปัญญาประดิษฐ์กับงานวิชาการ ✦ หลักการเขียน Prompt เพื่อให้ปัญญาประดิษฐ์ช่วยรังสรรค์งานวิชาการ ✦ วิธีป้องกันการคัดลอกผลงานผู้อื่น เมื่อใช้ AI ช่วยเขียนงานวิชาการ

รายวิชาที่เปิดสอน 2567/3

Loading...